วันพฤหัสบดีที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2554

Containerization

Containerization
1. Bulk cargo   เป็นกลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์ที่สินค้าจะถูกส่ง unpackaged
ปกติหรือเทกับถังพ่นหรือพลั่ว, เป็นของเหลวหรือเป็นมวลของของแข็งมีขนาดค่อนข้างเล็ก (เช่นเมล็ดพืชถ่านหิน), เป็นผู้ถือเรือผู้ให้บริการเป็นกลุ่มของรถยนต์รถไฟหรือเรือบรรทุกรถบรรทุก / รถพ่วง / กึ่ง ร่างกายพ่วง ปริมาณขนาดเล็ก (ถือว่ายังคง"กลุ่ม") สามารถบรรจุกล่อง (หรือ drummed) และ palletised เป็นกลุ่มสินค้าที่จัดเป็นของเหลวหรือแห้ง         
2.  Claused bill  การเรียกเก็บเงินจากน้ำหนักบรรทุกที่แสดงความไม่เพียงพอหรือความเสียหายในสินค้าที่จัดส่ง โดยปกติหากการจัดส่งผลิตภัณฑ์ที่เบี่ยงเบนจากข้อกำหนดของการส่งหรือคุณภาพที่คาดหวัง รับอาจประกาศการเรียกเก็บเงินจากการบรรทุก claused
3. Charter  กฎบัตร    สัญญาเช่า    กฎหมาย    ธรรมนูญ    ใบอนุญาตกรรมสิทธิ์    สิทธิพิเศษ
4.Broken stowage  ปริมาณของพื้นที่บนเรือขนส่งสินค้าที่สูญหายในระหว่างการเก็บรักษาวัดในอัตราร้อยละของ balespace ทั้งหมด ร้อยละของพื้นที่ที่สูญเสียไปขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้าที่รูปร่างภาชนะบรรจุและอ่าวที่ใช้
5. Ship broker  โบรกเกอร์เรือ   โบรกเกอร์คือบุคคลหรือบริษัท ที่เป็นตัวแทนในการทำการซื้อขายราคาค่าเงินหรือหุ้นให้กับเรา โดยจะเรียกเก็บค่าตอบแทนหักออกจากจำนวนจุดที่เราได้ทำการซื้อขายไป เช่นเมื่อเราทำการซื้อขายค่าเงิน EUR/USD จากโบรกเกอร์ของ Marketiva เราจะ ถูกหักค่าใช้จ่ายออกไปทันทีสามจุด เป็นต้น ซึ่งแต่ละโบรกเกอร์ก็อาจเรียกเก็บค่าตอบแทนไม่เท่ากัน ดังนั้นการเลือกโบรกเกอร์จึงเป็นเรื่องสำคัญเช่นกัน                       
6. Belly cargo  การขนส่งทางช่อง
7. Backfreight    การส่งคืนสินค้ากลับต้นทาง                                    
8.  Ship’s master  ต้นแบบของเรือ เรือโท'นำทางดูแลและจัดการการดำเนินการเดินเรือในทะเลในพอร์ต
และที่ยึด ต้นแบบของเรือให้คำปรึกษาคาดการณ์สภาพอากาศที่ทำให้การวางแผนการเดินทางและการ
ดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์และสินค้าคงคลังในการเตรียมความพร้อมของเรือออกจากพอร์ต
9. Partial shipment   การจัดส่งสินค้าบางส่วน   การทยอยจัดส่งสินค้า หรือการแยกส่งเฉพาะบางส่วนที่มิสินค้าใน
สต๊อก อ้างอิงตามใบสั่งซื้อ.                  
10. Cargo carrier ผู้ให้บริการขนส่งสินค้า           
11. Dangerous goods   สินค้าอันตราย                
12. Demurrage  การจอดเรือเกินกำหนด เก็บค่าจอดเกินเวลา
13. Less than container load(LCL)    ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับหลายรายในตู้สินค้าเดียวกันซึ่ง
แต่ละรายจะมีสินค้าอยู่มากน้อยเท่าใดก็ได้ แต่สินค้าทั้งหมดจะถูกนำไปยังจุดหมายปลายทางเดียวกัน ความรับผิดชอบในการ บรรจุสินค้าในตู้สินค้าและ/ หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าในลักษณะนี้จะอยู่กับผู้รับการขนส่งซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นบริษัทเรือ บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CFS เพราะต้องมีการนำสินค้ามาผ่านโกดังจัดแยกชนิดสินค้าก่อนที่จะทำการบรรจุ ใส่ตู้สินค้าหรือ ส่งไปยังจุดหมายปลายทาง           
14. Full container load(FCL)   ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับเป็นเจ้าของรายเดียว อยู่ในตู้สินค้า
เดียวกัน ส่วนมากความรับผิดชอบในการบรรจุสินค้าในตู้สินค้า และ/หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าจะอยู่กับผู้ส่งและ/หรือผู้รับนั้นๆ  บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CY เพราะสามารถรับและ/หรือส่งตู้ชนิดนี้ได้โดยไม่ต้องผ่านโกดัง
15. Bagged cargo     สินค้าบรรจุถุง ผลิตภัณฑ์                               
16. Deck cargo  สินค้าที่บรรทุกบนปากระวาง

                  http://www.jobguide.thegoodguides.com.au/occupation/Ship-s-Master
                  http://www.marinerthai.com/sara/view.php?No=1145

Bill of Lading


ใบตราส่งสินค้าทางทะเล  OCEAN BILL OF LADING ( B/L ) เป็นเอกสารสำคัญที่สุด เมื่อมีการส่งสินค้าทางทะเล Bill of Lading เป็นใบรับรอง มอบสินค้าของบริษัทเรือที่ทำการส่งออก ซึ่งมีลักษณะปลีกย่อยดังนี้                                        
ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า Multimodal Transport Document หรือ Combine Transportation Bill ofLading  และใช้ในการขนส่งที่ผู้รับสินค้าไม่ต้องนำต้นฉบับใบตราส่งไปขอรับสินค้า ซึ่งในทางปฏิบัติผู้รับสินค้าสามารถใช้สำเนาใบตราส่งไปขอรับใบสั่งปล่อยจากตัวแทนเรือได้ เรียกว่า Seaway Bill หรือExpress Bill ใบตราส่งประเภทนี้ผู้รับตราส่งจะต้องเป็นผู้นำเข้าโดยตรง และความรับผิดชอบของผู้รับขนส่งมีน้อยกว่าใบตราส่งประเภทอื่น
ใบตราส่งสินค้าทางทะเล เป็นเอกสารแสดงสิทธิในสินค้า และเป็นหลักฐานสัญญาของบริษัทเรือที่จะขนส่งสินค้าทางเรือ ของประเทศส่งออกไปยังท่าเรือปลายทาง ใบตราส่งสินค้ามีหลายชนิดดังนี้ คือ
              CLEAN B/L คือใบตราส่งสินค้าที่บริษัทเรือไม่ได้บันทึกแจ้งข้อบกพร่องของสินสินค้า / หรือ การบรรจุหีบห่อ
              NON-NEGOTIABLE OR STRAIGHT B/L                   เป็นใบตราส่งสินค้าที่ยินยอมให้มีการส่งมอบให้แก้ผู้รับสินค้า (CONSIGNER )ที่ระบุไว้เท่านั้น จะโอนให้ผู้อื่นมารับไม่ได้
             ORDER B/L
                  ใบตราส่งสินค้าที่ออก โดยมีการส่งมอบสินค้าตามคำสั่ง ( ORDER ) ปกติตามคำสั่งของผู้ส่งสินค้าหรืออาจเป็นลอย ๆ ซึ่งต้องมีการสลักหลังโดยผู้ส่งสินค้าเพื่อเป็นการโอนสิทธิ์ในสินค้าให้กับ ผู้ทรง ( HOLDER ) หรือผู้ที่ได้รับการโอนสิทธิ์ให้ โดยเจาะจงการสลักหลังใบตราส่งสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น
             ORDER “ NOTIFY” B/L                   เหมือนกับใบตราส่งสินค้าชนิด “ ORDER” เพียง แต่เพิ่มข้อความในใบตราส่งสินค้า ว่าเมื่อสินค้าถึงเมืองท่าปลายทางแล้ว ตัวแทนบริษัทเรือที่มีเมืองท่าปลายทาง จะแจ้งให้กับผู้รับสินค้าทราบการแจ้งนี้ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ ในสินค้านั้นให้กับผู้รับแจ้ง เพียงเป็นเรื่องแจ้งให้ทราบว่าสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น
                  เป็นตราสารแสดงสิทธิ์ของผู้ทรงและเปลี่ยนมือได้ (NEGOTIABLE INSTRUMANT) คือเป็นเอกสารแสดงสิทธิในสินค้าและโอนสิทธิต่อ ๆ กันได้ BILL OF LADING นี้ยังแบ่งออกเป็น
             “ THROUGH” BILL OF LANDING เป็นใบตราส่งออกในกรณีที่การขนส่งทั้งทางบกและทางทะเล ซึ่งระบุการขนส่งไว้ตลอดทาง ปกติผู้รับขนส่งคนแรกจะเป็นผู้ออกใบตราส่งชนิดนี้
             “RECEIVED FOR SHIPMENT” BILL OF LANDING เป็นใบตราส่งสินค้าชนิดที่มีลักษณะเป็นเพียงสัญญาแสดงว่าได้รับการสินค้าไว้ เพื่อจะทำการขนส่ง แต่ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่าสินค้าได้ขึ้นเรือลำที่ระบุไว้เป็นการเรียบร้อย แล้ว
             “SHIPPED ON BOARD ” BILL OF LADING เป็นใบตราส่งซึ่งแสนดงว่าสินค้าได้ขึ้นเรือระวางเรือเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
             “CHARTER PARTY ” BILL OF LADING เป็นใบตราส่งที่ผู้รับขนได้เช่าเรือของผู้อื่นมารับทำการขนส่งสินค้าซึ่งระบุเงื่อนไขให้สัญญาขนส่งติดแยกจากใบตราส่งชนิดอื่น
ใบตราส่งสินค้า
  • เป็นตราสารที่ผู้รับขนสินค้าออกให้แก่ผู้ส่งสินค้า เพื่อแสดงว่าได้มีการรับสินค้าเพื่อนำส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ผู้ส่งสินค้ากำหนด ใบตราส่งสินค้ามีหลายชนิด เช่น
  • ใบตราส่งสินค้าทางทะเลเรียกว่า Ocean Bill of Lading ซึ่งมีลักษณะปลีกย่อยดังนี้ ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า Multimodal Transport Document หรือ Combine Transportation Bill of Lading
  • ใช้ในการขนส่งที่ผู้รับสินค้าไม่ต้องนำต้นฉบับใบตราส่งไปขอรับสินค้า ซึ่งในทางปฏิบัติผู้รับสินค้าสามารถใช้สำเนาใบตราส่งไปขอรับใบสั่งปล่อยจากตัวแทนเรือได้ เรียกว่า Seaway Bill หรือ Express Bill ใบตราส่งประเภทนี้ผู้รับตราส่งจะต้องเป็นผู้นำเข้าโดยตรง และความรับผิดชอบของผู้รับขนส่งมีน้อยกว่าใบตราส่งประเภทอื่น
  • ใบตราส่งสินค้าทางอากาศเรียกว่า Air Way Bill
  • ใบตราส่งสินค้าทางรถไฟ เรียกว่า Railway Bill ใบตราส่งสินค้าที่สำคัญได้แก่
    ใบตราส่งสินค้าทางเรือ (Bill of Lading)
     ใบตราส่งสินค้าทางเรือเป็นเอกสารที่มีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ
  • เป็นใบรับสินค้าที่ออกให้โดยสายเดินเรือหรือตัวแทนสายเดินเรือ ที่มีรายละเอียดของสินค้าที่จะทำการขนส่ง
  • เป็นสัญญาการขนส่งระหว่างผู้ส่งสินค้ากับผู้รับขนส่งสินค้า ว่าผู้รับขนส่งจะส่งสินค้าไปยังเมืองท่าปลายทางและจะส่งมอบให้แก่ผู้รับที่ผู้ส่งสินค้าได้ระบุไว้
  • เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในสินค้าที่ขนส่งที่เปลี่ยนมือได้ (Negotiable) ของผู้ทรงสิทธิ์ ซึ่งผู้ทรงสิทธิ์จะใช้ในการขอรับสินค้าที่ท่าเรือปลายทาง หรือจะใช้ในการขายต่อสินค้าให้กับผู้รับซื้อช่วงในระหว่างการขนส่งก็ได้
                                                     ข้อความที่สำคัญในใบตราส่งสินค้าทางเรือมีดังนี้
 
 
  • ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ (Air Way Bill)  ใบตราส่งสินค้าทางอากาศเป็นเพียงใบรับสินค้าและสัญญาการขนส่งเท่านั้น

                                                       ข้อความที่สำคัญในใบตราส่งสินค้าทางอากาศมีดังนี้


 
  • ใบตราส่งสินค้าที่ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน
        ใบตราส่งสินค้าที่ใช้กับการขนส่งรวมรูปแบบต่อเนื่องหลายวิธีเข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า Multimodal Transport Bill of Lading ใช้สำหรับการขนส่งที่รวมรูปแบบหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น ขนส่งโดยรถยนต์ไปต่อเรือเดินสมุทรแล้วไปต่อเครื่องบินอีกทอดหนึ่งเป็นต้น ใบตราส่งสินค้าแบบ Multimodal Transport Bill of Lading มีรายละเอียดเหมือนกันกับใบตราส่งสินค้าทางทะเลเกือบทั้งหมด

ข้อความที่สำคัญในใบตราส่งสินค้าแบบ Multimodal Transport Bill of Lading มีดังนี้
 



Border Trad

Border Trad
Contertrade   การค้าต่างตอบแทน คือ การที่ประเทศหนึ่งตกลงซื้อสินค้าจากอีกประเทศหนึ่ง เป็นการตอบแทนที่ประเทศนั้นซื้อสินค้าหรือบริการของตน การค้าต่างตอบแทนมีหลายวิธี แต่จะกล่าวถึงเฉพาะวิธีที่ไทยคุ้นเคย
Drawback   ข้อเสียเปรียบการค้า การจ่ายเงินกลับหน้าที่จ่ายเงินก่อนหน้านี้ในการส่งออกที่ต้องเสียภาษีหรือบท ความเกี่ยวกับสินค้าจากต่างประเทศอีกครั้งการส่งออก วัตถุของข้อเสียเปรียบคือการปล่อยให้สินค้าที่อาจมีการจัดเก็บภาษีส่งออกและ จำหน่ายในต่างประเทศตามเงื่อนไขเช่นเดียวกับสินค้าจากประเทศที่พวกเขาจะไม่ ต้องเสียภาษี ซึ่งแตกต่างจากความโปรดปรานในการที่โปรดปรานจะช่วยให้สินค้าที่จะขายในต่าง ประเทศที่ต่ำกว่าราคาต้นทุนของพวกเขาก็อาจจะเกิดขึ้น แต่อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่างที่ทำให้เสียเปรียบมีผลเท่ากับว่าของโปรดปราน
Foreign market value (FMV)   มูลค่าต่างประเทศ
Consumer durables   คงทนของผู้บริโภค คือ ในเศรษฐศาสตร์มีความทนทานดีหรือยากดีเป็นดีที่ไม่ได้สวมใส่ได้อย่างรวดเร็ว ออกหรือมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำให้สาธารณูปโภคในช่วงเวลาแทน ที่จะสมบูรณ์บริโภคในการใช้งาน รายการเช่นอิฐหรือเครื่องประดับที่อาจจะพิจารณาสินค้าคงทนที่ดีที่สุดเพราะ พวกเขาควรจะในทางทฤษฎีไม่เคยใส่ออก สินค้าคงทนสูงเช่นตู้เย็น , รถยนต์ , หรือโทรศัพท์มือถือมักจะดำเนินการต่อไปจะมีประโยชน์สำหรับสามปีหรือมากกว่าในการใช้งานดังนั้นสินค้าคงทนมีลักษณะโดยทั่วไปเป็นระยะเวลานานระหว่างการสั่งซื้อต่อเนื่อง 
Black market     ตลาดมืด เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ผิดกฎหมาย ถ้าเป็นกรณีของการนำเข้าผลิตภัณฑ์  ก็เป็นการลักลอบนำเข้าอย่างผิดกฎหมาย หรือเป็นของละเมิดลอกเลียนแบบ
Gray market goods   สินค้าตลาดสีเทา  เป็นตลาดของผลิตภัณฑ์แท้ที่นำเข้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายและกติกา เพียงแต่ผู้นำเข้า  ตลอดจนผู้ส่งออกจากประเทศต้นทาง นั้นมักจะไม่ใช่ผู้ที่บริษัทแม่ผู้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องการจะให้ดำเนินการ และบางกรณีเข้าข่ายละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า
Re-export    ของส่งกลับ  ของที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรแล้ว ต่อมาผู้นำเข้าของได้นำของที่นำเข้ามานั้นส่งกลับออกไปยังต่างประเทศ โดยไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือลักษณะประการใด หรือของที่นำเข้ามาเพื่อเป็นของใช้สิ้นเปลืองสำหรับยานพาหนะที่เดินทางไปต่างประเทศแล้วจะขอคืนอากรที่ได้ชำระไปกลับคืน ตามมาตรา 19 แห่ง พรบ.ศุลกากร ฉบับที่ 9 พ.ศ.2482

Agribusiness   ธุรกิจการเกษตร  การดำเนินกิจกรรมทั้งหลายนับตั้งแต่การผลิตและจำหน่ายปัจจัยการผลิต การผลิตสินค้าเกษตรในระดับฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ ดังนั้น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรทุกประเภทถือว่าเป็นธุรกิจการเกษตรทั้งสิ้น
Delivered at frontier    ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้า ณ เขตแดนที่ได้ตกลงกันไว้ ยังไม่ผ่านเขตแดนอีกฝ่ายผู้ขายต้องผ่านพิธีการส่งออก แต่ไม่ต้องผ่านพิธีการขาเข้า ไม่ต้องขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ ความหมายคำว่า เขตแดน อาจจะใช้กับเขตแดนประเทศใดๆ ก็ได้รวมถึงประเทศผู้ส่งออก ดังนั้นชื่อสถานที่ดังกล่าวควรระบุให้ชัดเจนว่า ณ จุดใด สถานที่ใด อย่างไรก็ตาม ถ้าคู่ค้าต้องการที่จะให้ผู้ขายรับภาระในด้านการขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ และรับภาระในค่าใช้จ่าย รวมถึงความเสี่ยงดังกล่าว ก็ควรระบุให้ขัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรในสัญญาซื้อขาย ข้อตกลงนี้ ใช้ได้กับการขนส่งทุกรูปแบบ ที่สินค้าส่งมอบกันเขตแดนทางบก ถ้าการส่งมอบเกิดขึ้นที่ท่าเรือปลายทาง หรือบนเรือ หรือที่ท่าเทียบเรือ ควรหันไปใช้ข้อตกลง DES หรือ DEQ แทน
Import quota    การจำกัดสินค้าเข้า  เป็นการกำหนดโควต้าด้านปริมาณหรือมูลค่าของสินค้าที่จะนำเข้าจากต่างประเทศ
Embargo   ระยะเวลาที่สำนักพิมพ์ระบุไว้เพื่อบอกผู้อ่านวารสารอิเล็กทรอนิกส์ว่า ไม่อนุญาตให้เข้าถึง fulltext เพื่อรักษาผลประโยชน์อันพึงมีของสำนักพิมพ์   Embargo  มักจะถูกต่อท้ายด้วยระยะเวลา  เช่น   Embargo 6 months,  Embargo 1 year  หมายความว่า บทความอิเล็กทรอนิกส์ของวารสารชื่อนั้นจะไม่สามารถ download fulltext ได้ จนกว่าบทความนั้นจะได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฉบับ printed ผ่านไปแล้ว 6 เดือน หรือ 1 ปี (ตามแต่ระยะเวลาที่ต่อท้ายคำว่า Embargo)
Foreign direct investment (FDI)   การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศตามความหมายดั้งเดิมหมายถึงบริษัทๆหนึ่งจากประเทศๆหนึ่ง ได้สร้างการลงทุนทางกายภาคโดยการสร้างหน่วยการผลิตในประเทศอื่น ซึ่งตามความหมายนี้ สามารถรวมไปถึงการลงทุนที่สร้างผลประโยชน์สุดท้ายในกิจการ นอกเหนือไปจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของผู้ลงทุน
Consumer goods    สินค้าเพื่อการบริโภค  คือ สินค้าหรือบริการที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่อการอุปโภคบริโภคเองในครอบครัว เพื่อตอบสนองความต้องการหรือสร้างความพึงพอใจแก่ตนเองหรือสมาชิกภายในครอบครัว แตกต่างจากสินค้าเพื่ออุตสาหกรรม (Industrial Goods) ที่ผู้ซื้อซื้อไป ใช้งานภายในองค์กร หรือซื้อไปใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ แล้วนำออกมาขายเพื่อแสวงหากำไร
Import licence   การออกใบอนุญาตนำเข้า  เป็นเอกสารที่ออกโดยรัฐบาลแห่งชาติอนุญาตการนำเข้าสินค้าบางอย่างลงในอาณาเขตของ ตน ใบอนุญาตนำเข้าจะถือว่าเป็นอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีการค้าเมื่อนำมาใช้เป็นวิธี การเลือกปฏิบัติต่อสินค้าของประเทศอื่นเพื่อที่จะปกป้องอุตสาหกรรมภายใน ประเทศจากการแข่งขันต่างประเทศ ใบอนุญาตแต่ละระบุปริมาณการนำเข้าที่ได้รับอนุญาตและการอนุญาตให้ใช้ปริมาณ ทั้งหมดไม่ควรเกินโควตา
            Primary commodity    สินค้าหลักสิ่งที่สามารถนำเสนอขายให้แก่ตลาดเพื่อให้เกิดความพอใจ ความต้องการเป็นของเจ้าของ เรียกให้มีการซื้อ การใช้  หรือการบริโภค  ซึ่งเป็นสิ่งที่ (อาจจะ) ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นของผู้ซื้อให้ได้รับความพอใจ

Border Trad
Contertrade   การค้าต่างตอบแทน คือ การที่ประเทศหนึ่งตกลงซื้อสินค้าจากอีกประเทศหนึ่ง เป็นการตอบแทนที่ประเทศนั้นซื้อสินค้าหรือบริการของตน การค้าต่างตอบแทนมีหลายวิธี แต่จะกล่าวถึงเฉพาะวิธีที่ไทยคุ้นเคย
Drawback   ข้อเสียเปรียบการค้า การจ่ายเงินกลับหน้าที่จ่ายเงินก่อนหน้านี้ในการส่งออกที่ต้องเสียภาษีหรือบท ความเกี่ยวกับสินค้าจากต่างประเทศอีกครั้งการส่งออก วัตถุของข้อเสียเปรียบคือการปล่อยให้สินค้าที่อาจมีการจัดเก็บภาษีส่งออกและ จำหน่ายในต่างประเทศตามเงื่อนไขเช่นเดียวกับสินค้าจากประเทศที่พวกเขาจะไม่ ต้องเสียภาษี ซึ่งแตกต่างจากความโปรดปรานในการที่โปรดปรานจะช่วยให้สินค้าที่จะขายในต่าง ประเทศที่ต่ำกว่าราคาต้นทุนของพวกเขาก็อาจจะเกิดขึ้น แต่อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่างที่ทำให้เสียเปรียบมีผลเท่ากับว่าของโปรดปราน
Foreign market value (FMV)   มูลค่าต่างประเทศ
Consumer durables   คงทนของผู้บริโภค คือ ในเศรษฐศาสตร์มีความทนทานดีหรือยากดีเป็นดีที่ไม่ได้สวมใส่ได้อย่างรวดเร็ว ออกหรือมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำให้สาธารณูปโภคในช่วงเวลาแทน ที่จะสมบูรณ์บริโภคในการใช้งาน รายการเช่นอิฐหรือเครื่องประดับที่อาจจะพิจารณาสินค้าคงทนที่ดีที่สุดเพราะ พวกเขาควรจะในทางทฤษฎีไม่เคยใส่ออก สินค้าคงทนสูงเช่นตู้เย็น , รถยนต์ , หรือโทรศัพท์มือถือมักจะดำเนินการต่อไปจะมีประโยชน์สำหรับสามปีหรือมากกว่าในการใช้งานดังนั้นสินค้าคงทนมีลักษณะโดยทั่วไปเป็นระยะเวลานานระหว่างการสั่งซื้อต่อเนื่อง 
Black market     ตลาดมืด เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ผิดกฎหมาย ถ้าเป็นกรณีของการนำเข้าผลิตภัณฑ์  ก็เป็นการลักลอบนำเข้าอย่างผิดกฎหมาย หรือเป็นของละเมิดลอกเลียนแบบ
Gray market goods   สินค้าตลาดสีเทา  เป็นตลาดของผลิตภัณฑ์แท้ที่นำเข้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายและกติกา เพียงแต่ผู้นำเข้า  ตลอดจนผู้ส่งออกจากประเทศต้นทาง นั้นมักจะไม่ใช่ผู้ที่บริษัทแม่ผู้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องการจะให้ดำเนินการ และบางกรณีเข้าข่ายละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า
Re-export    ของส่งกลับ  ของที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรแล้ว ต่อมาผู้นำเข้าของได้นำของที่นำเข้ามานั้นส่งกลับออกไปยังต่างประเทศ โดยไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือลักษณะประการใด หรือของที่นำเข้ามาเพื่อเป็นของใช้สิ้นเปลืองสำหรับยานพาหนะที่เดินทางไปต่างประเทศแล้วจะขอคืนอากรที่ได้ชำระไปกลับคืน ตามมาตรา 19 แห่ง พรบ.ศุลกากร ฉบับที่ 9 พ.ศ.2482

Agribusiness   ธุรกิจการเกษตร  การดำเนินกิจกรรมทั้งหลายนับตั้งแต่การผลิตและจำหน่ายปัจจัยการผลิต การผลิตสินค้าเกษตรในระดับฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ ดังนั้น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรทุกประเภทถือว่าเป็นธุรกิจการเกษตรทั้งสิ้น
Delivered at frontier    ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้า ณ เขตแดนที่ได้ตกลงกันไว้ ยังไม่ผ่านเขตแดนอีกฝ่ายผู้ขายต้องผ่านพิธีการส่งออก แต่ไม่ต้องผ่านพิธีการขาเข้า ไม่ต้องขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ ความหมายคำว่า เขตแดน อาจจะใช้กับเขตแดนประเทศใดๆ ก็ได้รวมถึงประเทศผู้ส่งออก ดังนั้นชื่อสถานที่ดังกล่าวควรระบุให้ชัดเจนว่า ณ จุดใด สถานที่ใด อย่างไรก็ตาม ถ้าคู่ค้าต้องการที่จะให้ผู้ขายรับภาระในด้านการขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ และรับภาระในค่าใช้จ่าย รวมถึงความเสี่ยงดังกล่าว ก็ควรระบุให้ขัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรในสัญญาซื้อขาย ข้อตกลงนี้ ใช้ได้กับการขนส่งทุกรูปแบบ ที่สินค้าส่งมอบกันเขตแดนทางบก ถ้าการส่งมอบเกิดขึ้นที่ท่าเรือปลายทาง หรือบนเรือ หรือที่ท่าเทียบเรือ ควรหันไปใช้ข้อตกลง DES หรือ DEQ แทน
Import quota    การจำกัดสินค้าเข้า  เป็นการกำหนดโควต้าด้านปริมาณหรือมูลค่าของสินค้าที่จะนำเข้าจากต่างประเทศ
Embargo   ระยะเวลาที่สำนักพิมพ์ระบุไว้เพื่อบอกผู้อ่านวารสารอิเล็กทรอนิกส์ว่า ไม่อนุญาตให้เข้าถึง fulltext เพื่อรักษาผลประโยชน์อันพึงมีของสำนักพิมพ์   Embargo  มักจะถูกต่อท้ายด้วยระยะเวลา  เช่น   Embargo 6 months,  Embargo 1 year  หมายความว่า บทความอิเล็กทรอนิกส์ของวารสารชื่อนั้นจะไม่สามารถ download fulltext ได้ จนกว่าบทความนั้นจะได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฉบับ printed ผ่านไปแล้ว 6 เดือน หรือ 1 ปี (ตามแต่ระยะเวลาที่ต่อท้ายคำว่า Embargo)
Foreign direct investment (FDI)   การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศตามความหมายดั้งเดิมหมายถึงบริษัทๆหนึ่งจากประเทศๆหนึ่ง ได้สร้างการลงทุนทางกายภาคโดยการสร้างหน่วยการผลิตในประเทศอื่น ซึ่งตามความหมายนี้ สามารถรวมไปถึงการลงทุนที่สร้างผลประโยชน์สุดท้ายในกิจการ นอกเหนือไปจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของผู้ลงทุน
Consumer goods    สินค้าเพื่อการบริโภค  คือ สินค้าหรือบริการที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่อการอุปโภคบริโภคเองในครอบครัว เพื่อตอบสนองความต้องการหรือสร้างความพึงพอใจแก่ตนเองหรือสมาชิกภายในครอบครัว แตกต่างจากสินค้าเพื่ออุตสาหกรรม (Industrial Goods) ที่ผู้ซื้อซื้อไป ใช้งานภายในองค์กร หรือซื้อไปใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ แล้วนำออกมาขายเพื่อแสวงหากำไร
Import licence   การออกใบอนุญาตนำเข้า  เป็นเอกสารที่ออกโดยรัฐบาลแห่งชาติอนุญาตการนำเข้าสินค้าบางอย่างลงในอาณาเขตของ ตน ใบอนุญาตนำเข้าจะถือว่าเป็นอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีการค้าเมื่อนำมาใช้เป็นวิธี การเลือกปฏิบัติต่อสินค้าของประเทศอื่นเพื่อที่จะปกป้องอุตสาหกรรมภายใน ประเทศจากการแข่งขันต่างประเทศ ใบอนุญาตแต่ละระบุปริมาณการนำเข้าที่ได้รับอนุญาตและการอนุญาตให้ใช้ปริมาณ ทั้งหมดไม่ควรเกินโควตา
            Primary commodity    สินค้าหลักสิ่งที่สามารถนำเสนอขายให้แก่ตลาดเพื่อให้เกิดความพอใจ ความต้องการเป็นของเจ้าของ เรียกให้มีการซื้อ การใช้  หรือการบริโภค  ซึ่งเป็นสิ่งที่ (อาจจะ) ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นของผู้ซื้อให้ได้รับความพอใจ